Dr. Surin Thailand to accelerate the development of the higher ones.

January 15, 2012 by: 0
Visit 2,259 views

Dr. Surin Pitsuwan, ASEAN Secretary-General. 600 Million executives stressed the need to push the production of human resources of the country seriously. In the keynote address at the annual National Conference. 2554 A. “Preparation for Higher Education in the ASEAN Community.” Organized by the University. (Tpa.) At Ramkhamhaeng University.

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ กล่าวว่า ปัจจุบันการแข่งขันในเวทีโลกนั้นสูงมาก การศึกษาเป็นหัวข้อหนึ่งที่อาเซียนให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะจะเป็นกลไกหรือเครื่องมือสำคัญในการสร้างประชาคมอาเซียน  เพราะถ้าคนในประเทศสมาชิกคิดว่าตัวเองยังเป็นเชื้อชาติของตนเอง อาเซียนก็เกิดไม่ได้ เราต้องคิดถึงอัตลักษณ์อาเซียน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ด้วยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนและพัฒนาร่วมมือกัน ขณะนี้ประเทศคู่ค้าของอาเซียนต่างสนใจที่จะมาลงทุนอาเซียนมูลค่าในแต่ละปีสูงมาก เพราะอาเซียนมีประชากรถึง 600 Million higher than the EU.

Secretary-General. 2015(Act 2558.) แต่ความแตกต่างระหว่างประเทศสมาชิกยังสูงมาก โดยเฉพาะช่องว่างทางเศรษฐกิจ สิ่งนี้ท้าทายอาเซียนในการเข้าสู่ประชาคมร่วมกัน เพราะไม่มีเครื่องมือใดดีไปกว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือให้การศึกษาแก่พลเมืองของตน ถ้าทรัพยากรมนุษย์ไม่พร้อม ทุนที่จะมาลงในอาเซียนก็อาจจะมีปัญหาได้ ขณะนี้ทุกประเทศต้องฝึกพูดภาษาตลาดเพื่อบอกนักลงทุนว่าขามาลงทุนแล้วได้กำไรเท่าไหร่บ้าง ในถนนธุรกิจของแต่ประเทศ คนที่จบออกมาต้องสามารถเป็นบุคลากรที่เชื่อมโยงตลาดในและตลาดนอกประเทศได้ ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเน้นที่หัวใจของอาเซียน คือ การศึกษานั่นเอง

ดร.สุรินทร์ กล่าวว่า ประเทศในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม ไม่เหมือนประเทศในยุโรปที่มีภูมิหลังเดียวกัน ความแตกต่างหลากหลายเหล่านี้ทำให้คนในอาเซียนรีรอที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องภายในแต่ละประเทศ การเป็นประชาคมของคน 600 Millions of people have invested effort and work very seriously, which is not easy.

สิ่งที่เลขาธิการอาเซียนอยากเห็นความร่วมมือในอาเซียน ประการแรกคือ อะไรที่ทำได้ให้ทำก่อน หลายอย่างที่อาจจะมีปัญหา เช่น ตารางเปิดเรียนพร้อมกัน ถ้ารอว่า ปฏิทินการศึกษาตรงกันก็จะยาก แต่สิ่งที่เราต้องการคือการเรียนรู้ระหว่างกัน เช่น หลักสูตรนานาชาติ อาจปรับเพื่อเกื้อกูลตลาดอาเซียนที่ต้องการเข้ามาศึกษาก่อน ประการที่สองการเปิดกว้างโดยเฉพาะสาขาวิชาต่างๆที่เปิดสอนให้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างกันมากขึ้น ประการที่สามรัฐบาลต้องเห็นว่าเรื่องนี้เป็นนโยบายสำคัญของประเทศ โดยจัดสรรงบประมาณ จัดบุคลากรให้ สนับสนุนการเรียนการสอนสาขาวิชาต่างๆอย่างเพียงพอประการที่สี่ ในสาขาวิชาที่อาเซียนให้การรับรองแล้วว่าผู้ที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละประเทศสามารถออกไปหางานทำในประเทศสมาชิกได้นั้น เช่น แพทย์ ทันตแพทย์ วิศวกรรม การโรงแรม การท่องเที่ยว รวม 8 Field quality is the same one.

ดร.สุรินทร์ กล่าวว่า วิชั่นของอาเซียนนี้ ต้องบอกกล่าวไปถึงพ่อแม่ผู้ปกครองและนักเรียนด้วย เพราะอนาคตการเคลื่อนย้ายไปสู่ประเทศในภูมิภาคเป็นเรื่องน่าตื่นเต้นมาก เพราะถ้าเราสามารถชนะในอาเซียนได้เราก็จะสู่สากลได้ ข้อสำคัญเราต้องมีความเป็นเลิศ ต้องเป็นหนึ่ง เพราะเราขายทักษะความรู้ของเรา ต่อไปการผลิตบัณฑิตของแต่ละมหาวิทยาลัยทั้ง 8 This field, we do not manufacture for domestic production, but we need the people. 600 With millions.

เลขาธิการอาเซียนกล่าวด้วยความกังวลใจว่าอนาคตประเทศไทยกำลังย่างเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุประชากรรุ่นใหม่จะน้อยลง การผลิตสินค้าต่างๆต้องคิดถึงการส่งออกไปต่างประเทศ จึงขอฝากให้ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาต่างๆให้ฝึกทักษะภาษาอังกฤษแก่บัณฑิตมากขึ้น เพราะขณะนี้ไทยยังแพ้ประเทศในอาเซียนหลายประเทศ ต่ำกว่ามาเลเซีย และฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ ไทยยังมีปัญหาเรื่องคอรัปชั่นติดอันดับด้วย จึงขอฝากให้พิจารณาถึงการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีค่านิยมที่ถูกต้อง ความเจริญของประเทศต้องเป็นธรรมและนำไปสู่ความเจริญที่เผื่อแผ่  สังคมของประเทศนั้นจึงจะราบรื่น

ก่อนจบปาฐกถา ดร.สุรินทร์ ฝากถึงคนไทยทุกคนว่าขอให้คนไทยตระหนักว่าเราเป็นอาเซียนด้วยกัน เราจึงมีอำนาจต่อรองเพิ่มขึ้น และถ้าคุณภาพคนของเราพร้อม และแข่งขันกันแล้วสามารถเอาตัวรอดได้ สู้เขาได้  การผลิตบัณฑิตให้จบไปก่อนตามแบบเดิมไม่เพียงพออีกต่อไป เพราะจากนี้ไป เราไม่ได้แข่งขันในบริบทไทยเท่านั้น แต่เราต้องออกไปแข่งขันข้างนอกประเทศด้วย มาตรฐานการศึกษาจึงต้องมุ่งที่ประสิทธิภาพจริงๆ และอยากบอกว่าปัจจุบันนี้ภาคเอกชนได้ตื่นตัวไปก่อนหน้าแล้วนี้ ภาคเอกชนจะเป็นหนึ่งไม่ได้ ถ้าไม่มีบรรยากาศรอบๆที่ช่วยให้เขาแข่งขันต่อไปได้ คนช่วยคือสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ นี้เอง ในฐานะผู้ผลิต เป็นกัปตันหรือศูนย์หน้าให้ภาคเอกชน ถ้าสถาบันอุดมศึกษาต่างๆพร้อมออกไปแข่งขัน เชื่อว่า ทุกองคาพยพของสังคมไทยจะต้องสนับสนุนอย่างแน่นอน แม้เราจะมีสิ่งท้าทายมากมาย และสิ่งกดดันจากทุกทิศ แต่การบริหารจัดการให้ถูกต้อง ลดคอรัปชั่น เพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันแล้ว เชื่อว่า ไทยจะสามารถแข่งขันได้ทั้งในอาเซียนและตลาดโลกอย่างแน่นอน


About Auther : Webmaster  (439 Posts)

Thai Education Portal


Share this Story
Categories
Uncategorized  
Tags

Comments are closed.

Translation

Englishภาษาไทย

Search for.